แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บริหารธุรกิจ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ บริหารธุรกิจ แสดงบทความทั้งหมด

BBARSU :: สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์

สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์
(e-Business)
ชื่อปริญญา        
-          บริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์)
-          Bachelor of Business Administration (e-Business)
-          บธ.บ. (สาขาวิชาการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์)
-          B.B.A. (e-Business)
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร

  1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ควบคู่ความรู้ ด้านหลักการ การจัดการ และโครงสร้างของศาสตร์ทางธุรกิจ เช่น การตลาด การเงิน การจัดการ และเศรษฐศาสตร์ ให้สามารถออกไปปฏิบัติงานในองค์กรของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์การในรูปแบบต่างๆ ได้เป็นอย่างดี และพร้อมที่จะนาทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความสามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
  3. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
  4. เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ
  5. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถและใฝ่รู้ สามารถที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ และสังคม สามารถนาวิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ ไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนางานในองค์การได้
โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร       137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                         32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                  99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
ก. วิชาชีพ-บังคับ                                    43         หน่วยกิต
ข. วิชาชีพ-เลือก                                     6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า           6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางประกอบอาชีพ
บัณฑิตที่จบสาขาวิชานี้สามารถเข้าทางานในหน่วยงานของรัฐและเอกชนในงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศในเชิงธุรกิจ โดยเฉพาะการทาธุรกิจผ่านทางอินเทอร์เน็ต เช่น นักวิเคราะห์และออกแบบงานธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ (e-Business Analyst) นักออกแบบเว็บไซต์ ( Web Designer) นักพัฒนาเว็บไซต์ (Web Developer) ผู้ดูแลเว็บไซต์ (Web Master) หรือเป็นผู้ประกอบการ/เจ้าของกิจการร้านค้าออนไลน์ นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาต่อในระดับปริญญาโททั้งในและต่างประเทศ

BBARSU :: สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
(Logistics Management)

ชื่อปริญญา        
-           บริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์)
-           Bachelor of Business Administration (Logistics Management)
-           บธ.บ. (สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์)
-           B.B.A. (Logistics Management)
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านการจัดการโลจิสติกส์ ให้สามารถออกไป ปฏิบัติงานในองค์การของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความ สามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
3. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่าง ประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ
โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร       137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                          32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                  99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
ก. วิชาชีพ-บังคับ                                    43         หน่วยกิต
ข. วิชาชีพ-เลือก                                     6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า           6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางประกอบอาชีพ
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ จะมีองค์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพที่สามารถนาไปประกอบอาชีพ ดังนี้
1 ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง
2 ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า และนักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ Logistics Analyst, Material Planner, Operations Analyst, Procurement Manager, Supply Chain Analyst, Business Process Analyst, Operations Manager
3 ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นาเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ
4 รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้าและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5 นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์

BBARSU :: สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์

สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
(Computer Information System)

ชื่อปริญญา    
-          บริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์)
-           Bachelor of Business Administration (Computer Information System)
-          บธ.บ. (สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์)
-          B.B.A. (Computer Information System)

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ให้สามารถออกไป ปฏิบัติงานในองค์การของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความ สามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
3. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่าง ประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ

โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร       137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                         32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
ก. วิชาชีพ-บังคับ                                    43         หน่วยกิต
ข. วิชาชีพ-เลือก                                     6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า          6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต

แนวทางประกอบอาชีพ
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ จะมีองค์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพที่สามารถนาไปประกอบอาชีพ ดังนี้
1 เปิดร้าน Internet
2 เปิดร้านขายคอมพิวเตอร์
3 ทาธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับอินเทอร์เน็ต เช่น e-Commerce, e-Learning, e-Service เป็นต้น
4 ผู้จัดการโครงการคอมพิวเตอร์
5 ผู้จัดการฐานข้อมูล
6 ผู้จัดการซอฟต์แวร์
7 นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
8 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
9 ดูแลระบบบริการ ความปลอดภัย เครือข่าย
10 นักวิชาการคอมพิวเตอร์
11 ผู้ตรวจสอบงานคอมพิวเตอร์
12 โปรแกรมเมอร์

BBARSU :: สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์

สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
(Human Resource Management)
ชื่อปริญญา    
-           บริหารธุรกิจบัณฑิต (สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์)
-           Bachelor of Business Administration (Human Resource Management)
-           บธ.บ. (สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์)
-           B.B.A. (Human Resource Management)
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านการจัดการ ให้สามารถออกไป ปฏิบัติงานในองค์การของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความ สามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
3. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่าง ประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ
โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร        137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                              32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                      99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
ก. วิชาชีพ-บังคับ                                    43         หน่วยกิต
ข. วิชาชีพ-เลือก                                     6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า            6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต
แนวทางประกอบอาชีพ

ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ จะมีองค์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพที่สามารถนาไปประกอบอาชีพทางด้านทรัพยากรมนุษย์ในองค์การภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และองค์การเอกชน ในสายงานที่เกี่ยวกับการสรรหาและการคัดเลือกบุคลากร การจัดการค่าตอบแทน การฝึกอบรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

BBARSU :: สาขาวิชาการจัดการ

สาขาวิชาการจัดการ
(Management)

ชื่อปริญญา   
-           บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการ)
-           Bachelor of Business Administration (Management)
-           บธ.บ. (การจัดการ)
-           B.B.A. (Management)

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านการจัดการ ให้สามารถออกไป ปฏิบัติงานในองค์การของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความ สามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
3. เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่าง ประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4. เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ         
โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร       137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                         32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                 99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
ก. วิชาชีพ-บังคับ                                    43         หน่วยกิต
ข. วิชาชีพ-เลือก                                     6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า          6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต

แนวทางประกอบอาชีพ
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ จะมีองค์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพที่สามารถนาไปประกอบอาชีพ ดังนี้
1.    นักบริหาร / พนักงาน ในหน่วยงานของรัฐ
2.    นักบริหาร / พนักงานในสถานประกอบการเอกชน
3.    พนักงานในธนาคารพาณิชย์ / บริษัทเงินทุน / บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์
4.    พนักงานในหน่วยงานระหว่างประเทศ
5.    ประกอบธุรกิจส่วนตัว

BBARSU :: สาขาวิชาการเงินและการลงทุน

สาขาวิชาการเงินและการลงทุน
(Finance and Investment)

 ชื่อปริญญา
   -  บริหารธุรกิจบัณฑิต (การเงินและการลงทุน)
   -  Bachelor of Business Administration (Finance and Investment)
   -  บธ.บ. (การเงินและการลงทุน)
   -  B.B.A. (Finance and Investment)

จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
      1.   เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในด้านระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ให้สามารถออกไป ปฏิบัติงานในองค์การของภาคเอกชน ภาครัฐ และองค์กรในรูปแบบต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี
2.    เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้และความเข้าใจในแนวคิดของการเป็นผู้ประกอบการ และมีความ สามารถที่จะเป็นผู้ประกอบการในอนาคตได้
3.    เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถที่จะศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นทั้งในและต่าง ประเทศ ในสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
4.    เพื่อให้บัณฑิตมีความเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม จริยธรรม และมีความรับผิดชอบต่อสังคม และเป็นผู้นาในการพัฒนาประเทศ
         
โครงสร้างหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร        4          ปี
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร       137     หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                         32       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์                            6          หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์                             6          หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        9          หน่วยกิต
4) กลุ่มวิชาภาษา*                                    9          หน่วยกิต
5) กลุ่มวิชาพลศึกษาและ/หรือนันทนาการ      2          หน่วยกิต
* ได้มีการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเฉพาะเป็นภาษาอังกฤษอีก 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ                                 99       หน่วยกิต ประกอบด้วย
1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ                                 50         หน่วยกิต
2) วิชาชีพ                                               49         หน่วยกิต
  ก. วิชาชีพ-บังคับ                                  43         หน่วยกิต
  ข. วิชาชีพ-เลือก                                   6          หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี    ไม่น้อยกว่า          6          หน่วยกิต
เลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยรังสิต

แนวทางประกอบอาชีพ
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการเงินและการลงทุน จะมีองค์ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพที่สามารถนาไปประกอบอาชีพ ดังนี้
1.  พนักงานธนาคาร/ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์สินเชื่อ
2.  นักการเงินในหน่วยงานของรัฐและธุรกิจเอกชน
3.  นักการเงินในธนาคารพาณิชย์
4.  นักการเงินบริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์
5.  นักการเงิน เจ้าหน้าที่ในตลาดหลักทรัพย์
6.  นักการเงินบริษัทประกันภัย บริษัทการค้าระหว่างประเทศ
7.  ที่ปรึกษาการลงทุน

ปณิธาน วิสัยทัศน์

ปณิธาน
           คณะบริหารธุรกิจ มีปณิธานแน่วแน่ที่จะผลิตบัณฑิตให้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาตรงกับความต้องการในการพัฒนาประเทศ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยจะเป็นผู้ที่ได้รับการหล่อหลอม ให้มีความพร้อม ทั้งในด้านความรู้ ทักษะ และคุณธรรม และมีความมั่นใจที่จะสร้างความเจริญก้าวหน้า ให้แก่สังคมโดยส่วนรวมและตนเอง

วิสัยทัศน์

           คณะบริหารธุรกิจมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตให้ได้คุณภาพ โดยการนำเอาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ และเน้นความเป็นสากลมากขึ้น เพื่อพัฒนาศักยภาพบัณฑิตออกไปรับใช้สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ประกอบการได้

พันธกิจ

           คณะบริหารธุรกิจถือปณิธานและเป้าหมายของมหาวิทยาลัยรังสิตเป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของคณะฯโดยมีพันธกิจที่สำคัญดังนี้
1. การผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถที่ออกไปประกอบอาชีพในสาขาที่เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม มีความคิดริเริ่มที่ดี มีความรับผิดชอบ ตลอดจนรู้จักใช้เหตุผลและวิจารณญาณที่ถูกต้องเพื่อประกอบอาชีพ
3. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจและสังคม
4. พัฒนาบุคลากรของคณะฯ ให้มีประสิทธิภาพ
5. ส่งเสริมงานวิจัย การให้บริการทางวิชาการ รวมทั้งการทำนุศิลปวัฒนธรรม

วัตถุประสงค์

       จะเน้นการศึกษาในหลักสูตรสาขาวิชาต่าง ๆ ทางด้านบริหารธุรกิจและรัฐกิจ โดยตั้งความหวังแน่วแน่ที่จะผลิตบัณฑิต ให้ได้คุณภาพที่นำเอาเทคโนโลยีการจัดการเชิงธุรกิจต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณค่าต่อสังคมและ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ประกอบการได้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว คณะบริหารธุรกิจได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้อย่างชัดเจนดังนี้
  1. มุ่งเน้นในเรื่องมาตรฐานการศึกษา การประกันคุณภาพ และความเป็นเลิศทางวิชาการโดยส่งเสริมพัฒนาหลักสูตร และสาขาวิชาให้สอดคล้องและ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
  2. มุ่งเน้นพัฒนาคณะฯ และบุคลาการให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษา เทคโนโลยี เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
  3. ดำเนินการปรับปรุงพัฒนาเทคนิค การเรียนการสอน โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประกอบการเรียน
  4. มุ่งพัฒนาวิชาการสู่ความเป็นผู้นำ ด้านการศึกษาทางด้านบริหารธุรกิจในระดับมาตรฐานสากล โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการเรียนการสอนมากขึ้น
  5. ตั้งมั่นในการผลิตบัณฑิตให้ได้คุณภาพ โดยเน้นการฝึกปฏิบัติงานจริง เพื่อให้บัณฑิตที่จบจากคณะฯ สามารถออกไปรับใช้สังคมและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  6. ผลิตบัณฑิตให้ได้คุณธรรมและสามารถ สร้างตัวเองให้เป็นผู้ประกอบการได้
  7. ส่งเสริมให้นักศึกษาทำกิจกรรมร่วมกันทั้งภายใน และ ภายนอกคณะ เพื่อสร้างความสามัคคี ลักษณะนิสัยและ สุขภาพพลานามัย